http กับ https แตกต่างกันอย่างไร
ข้อควรรู้ เกี่ยวกับ http vs https
ที่เราเห็นบ่อยๆ แต่ไม่รู้ความแตกต่างว่า ตัว S ที่ต่อท้าย มีความหมายว่า “Secure” หรือก็คือ ปลอดภัย สำหรับการซื้อ การกรอกแบบฟอร์ม เช่น บัตรเครดิตเมื่อเราใช้งาน website และอาจต้องทำธุรกรรมบางอย่าง เช่น ซื้อของ ใส่รหัสบัตรเครดิต อะไรทำนองนี้ต้องระวัง วิธีสังเกตง่ายๆ โดยดูว่า website ที่เราจะทำการกรอกข้อมูลส่วนตัวของเราลงไปนั้นเป็น http:// หรือ https://
https:// ตัว S ที่ต่อท้าย มีความหมายว่า “Secure” หรือก็คือ ปลอดภัย สำหรับการซื้อ การกรอกแบบฟอร์ม เช่น บัตรเครดิต ใน website ที่เป็น https แต่ถ้าเราจะไปซื้อของ หรือ กรอกข้อมูลบัตรเครดิต ผ่านทาง website ที่เป็น http ไม่มี S ต่อท้าย ก็เตรียมตัวโดนแฮกข้อมูลส่วนตัวได้เลย เพราะมันไม่ secure
ที่เราเห็นบ่อยๆ แต่ไม่รู้ความแตกต่างว่า ตัว S ที่ต่อท้าย มีความหมายว่า “Secure” หรือก็คือ ปลอดภัย สำหรับการซื้อ การกรอกแบบฟอร์ม เช่น บัตรเครดิตเมื่อเราใช้งาน website และอาจต้องทำธุรกรรมบางอย่าง เช่น ซื้อของ ใส่รหัสบัตรเครดิต อะไรทำนองนี้ต้องระวัง วิธีสังเกตง่ายๆ โดยดูว่า website ที่เราจะทำการกรอกข้อมูลส่วนตัวของเราลงไปนั้นเป็น http:// หรือ https://
https:// ตัว S ที่ต่อท้าย มีความหมายว่า “Secure” หรือก็คือ ปลอดภัย สำหรับการซื้อ การกรอกแบบฟอร์ม เช่น บัตรเครดิต ใน website ที่เป็น https แต่ถ้าเราจะไปซื้อของ หรือ กรอกข้อมูลบัตรเครดิต ผ่านทาง website ที่เป็น http ไม่มี S ต่อท้าย ก็เตรียมตัวโดนแฮกข้อมูลส่วนตัวได้เลย เพราะมันไม่ secure
HTTP ย่อมาจาก Hypertext Transport Protocol เป็นโปรโตคอลสื่อสารที่ทำงานอยู่บนระบบโปรโตคอล TCP HTTP ใช้ในระบบเครือข่ายใยแมงมุม (World Wide Web [www]) ซึ่งมีหน้าที่ต่างๆ
- เป็นกลไก หรือโปรโตคอลหลักที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่าง Server และ Client ของ World Wide Web(www)
- กำหนดที่ตั้งทรัพยากรที่สอดคล้องกัน (Uniform Resoure Locators : URLs)
- ผู้เขียนเว็บสามารถฝังจุดเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) ในเอกสารในเว็บHTTP เป็น protocol ที่อยู่ในส่วนของ Application Layer โดย DATA ต่าง ๆ จาก Layer นี้จะถูกจากส่งผ่านไปยัง Layer อื่น ๆ ที่ต่ำกว่า
- มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลในรูปแบบภาษา HTML (HyperText Markup Language) โดยทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันบน www
- HTTP จะทำงานที่พอร์ต 80
- ส่งข้อมูลเป็นแบบ Clear text คือ ข้อมูลที่ทำการส่งไปนั้น ไม่ได้ทำการเข้ารหัส ทำให้สามารถถูกดักจับข้อมูลนั้นได้โดยง่าย
- มาตรฐานของ HTTP ปัจจุบันคือ HTTP 1.1 ซึ่งใ้ช้กันอย่างกว้างขวาง
คราวนี้ก็มารู้จักกับ “HTTPS” กันต่อ
HTTPS ย่อมาจาก Hypertext Transfer Protocol over Secure Socket Layer หรือ HTTP over SSL
- HTTPS ระบุถึงการเชื่อมต่อแบบ Secure HTTP เรียกใช้ด้วยรูปแบบ https:”//
- HTTPS จะทำงานที่พอร์ต TCP443 ออกแบบโดยบริษัท Netscape
- ทำงานโดยการเพิ่มข้อมูลในการระบุตัวผู้ส่ง ( Authentication) และการเข้ารหัสข้อมูล (Encryption) ภายใน HTTP กับ TCP
- ในการส่งข้อมูลจะเป็นแบบ HTTP แต่จะมีการเข้ารหัสเป็นแบบ SSL 128 bit โดยการเข้ารหัสนี้เปรียบได้กับการสร้าง VPN เพื่อไปหา Web Server
- โปรโตคอล HTTPS สร้างเพื่อความปลอดภัยสำหรับการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
- การใช้งาน HTTPS Administrator สร้าง Public Key Certificate สำหรับเว็บเซิร์ฟเวอร์
- สร้างโดยใช้ OpenSSL ssl-ca
- ทำการ Sign โดย Certificate Authority เพื่อยืนยันตัวตนว่าเป็น certificate จากเซิร์ฟเวอร์
- เว็บบราวเซอร์ตรวจสอบ certificate ได้จาก root certificate ซึ่งติดตั้งอยู่ในเว็บบราวเซอร์
- นิยมใช้กับ Web ที่ต้องการความปลอดภัยสูง เช่น พวก Web ของธนาคาร การเงินต่างๆ หรือข้อมูลส่วนของราชการ เป็นต้น
- https ส่งข้อมูลเป็นแบบ Cipher text คือ ข้อมูลที่ทำการส่งได้ถูกเข้ารหัสเอาไว้ โดยใช้ Asymmetric Algorithm ซึ่งถ้าถูกดักจับได้แต่ก็ไม่สามารถที่จะอ่านข้อมูลนั้นได้รู้เรื่อง โดยข้อมูลนั้นจะถูกอ่านโดยตัวเรากับเครื่อง Server เท่านั้น
- การมีระบบแบบนี้ถือว่าดี แต่อาจจะต้องใช้เวลาในการเข้าดูข้อมูล เนื่องจากจะต้องระบุตัวบุคคล คล้ายๆกับการ login
ข้อสังเกตุ
+ เราสามารถสังเกตได้ว่า webpage ที่เรากำลังดูอยู่นั้น ได้ใช้ระบบการรักษาความปลอดภัยของการส่งข้อมูลหรือไม่(SSL) สังเกตจาก รูปกุญแจ ถ้ามีแสดงว่าใช้ เช่น Gmail ก็มีน่ะคับ
+ SSL ย่อมาจาก Secure Sockets Layer
+ SSL คือ เครื่องหมายรับรองความปลอดภัยทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่ออกหรืออนุมัติโดย CA (Certificate Authority)
- เป็นกลไก หรือโปรโตคอลหลักที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่าง Server และ Client ของ World Wide Web(www)
- กำหนดที่ตั้งทรัพยากรที่สอดคล้องกัน (Uniform Resoure Locators : URLs)
- ผู้เขียนเว็บสามารถฝังจุดเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) ในเอกสารในเว็บHTTP เป็น protocol ที่อยู่ในส่วนของ Application Layer โดย DATA ต่าง ๆ จาก Layer นี้จะถูกจากส่งผ่านไปยัง Layer อื่น ๆ ที่ต่ำกว่า
- มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลในรูปแบบภาษา HTML (HyperText Markup Language) โดยทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันบน www
- HTTP จะทำงานที่พอร์ต 80
- ส่งข้อมูลเป็นแบบ Clear text คือ ข้อมูลที่ทำการส่งไปนั้น ไม่ได้ทำการเข้ารหัส ทำให้สามารถถูกดักจับข้อมูลนั้นได้โดยง่าย
- มาตรฐานของ HTTP ปัจจุบันคือ HTTP 1.1 ซึ่งใ้ช้กันอย่างกว้างขวาง
คราวนี้ก็มารู้จักกับ “HTTPS” กันต่อ
HTTPS ย่อมาจาก Hypertext Transfer Protocol over Secure Socket Layer หรือ HTTP over SSL
- HTTPS ระบุถึงการเชื่อมต่อแบบ Secure HTTP เรียกใช้ด้วยรูปแบบ https:”//
- HTTPS จะทำงานที่พอร์ต TCP443 ออกแบบโดยบริษัท Netscape
- ทำงานโดยการเพิ่มข้อมูลในการระบุตัวผู้ส่ง ( Authentication) และการเข้ารหัสข้อมูล (Encryption) ภายใน HTTP กับ TCP
- ในการส่งข้อมูลจะเป็นแบบ HTTP แต่จะมีการเข้ารหัสเป็นแบบ SSL 128 bit โดยการเข้ารหัสนี้เปรียบได้กับการสร้าง VPN เพื่อไปหา Web Server
- โปรโตคอล HTTPS สร้างเพื่อความปลอดภัยสำหรับการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
- การใช้งาน HTTPS Administrator สร้าง Public Key Certificate สำหรับเว็บเซิร์ฟเวอร์
- สร้างโดยใช้ OpenSSL ssl-ca
- ทำการ Sign โดย Certificate Authority เพื่อยืนยันตัวตนว่าเป็น certificate จากเซิร์ฟเวอร์
- เว็บบราวเซอร์ตรวจสอบ certificate ได้จาก root certificate ซึ่งติดตั้งอยู่ในเว็บบราวเซอร์
- นิยมใช้กับ Web ที่ต้องการความปลอดภัยสูง เช่น พวก Web ของธนาคาร การเงินต่างๆ หรือข้อมูลส่วนของราชการ เป็นต้น
- https ส่งข้อมูลเป็นแบบ Cipher text คือ ข้อมูลที่ทำการส่งได้ถูกเข้ารหัสเอาไว้ โดยใช้ Asymmetric Algorithm ซึ่งถ้าถูกดักจับได้แต่ก็ไม่สามารถที่จะอ่านข้อมูลนั้นได้รู้เรื่อง โดยข้อมูลนั้นจะถูกอ่านโดยตัวเรากับเครื่อง Server เท่านั้น
- การมีระบบแบบนี้ถือว่าดี แต่อาจจะต้องใช้เวลาในการเข้าดูข้อมูล เนื่องจากจะต้องระบุตัวบุคคล คล้ายๆกับการ login
ข้อสังเกตุ
+ เราสามารถสังเกตได้ว่า webpage ที่เรากำลังดูอยู่นั้น ได้ใช้ระบบการรักษาความปลอดภัยของการส่งข้อมูลหรือไม่(SSL) สังเกตจาก รูปกุญแจ ถ้ามีแสดงว่าใช้ เช่น Gmail ก็มีน่ะคับ
+ SSL ย่อมาจาก Secure Sockets Layer
+ SSL คือ เครื่องหมายรับรองความปลอดภัยทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่ออกหรืออนุมัติโดย CA (Certificate Authority)
ไม่มีความคิดเห็น